จิตดวงที่ ๕
[๓๑๖] ธรรมเป็นอกุศล เป็นไฉน?
อกุศลจิต สหรคตด้วยอุเบกขา สัมปยุตด้วยทิฏฐิ
มีรูปเป็นอารมณ์ หรือมีเสียงเป็นอารมณ์
มีกลิ่นเป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์
มีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์ มีธรรมเป็นอารมณ์
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึ้น ในสมัยใด
ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา จิต
วิตก วิจาร อุเบกขา เอกัคคตา
วิริยินทรีย์ สมาธินทรีย์ มนินทรีย์
อุเปกขินทรีย์ ชีวิตินทรีย์
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ
วิริยพละ สมาธิพละ อหิริกพละ อโนตตัปปพละ
โลภะ โมหะ อภิชฌา มิจฉาทิฏฐิ อหิริกะ อโนตตัปปะ
สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น หรือ
นามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด มีอยู่ในสมัยนั้น
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล.
[๓๑๗] ผัสสะ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?
การกระทบ กิริยาที่กระทบ กิริยาที่ถูกต้อง
ความถูกต้อง ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า ผัสสะ มีในสมัยนั้น.
ความถูกต้อง ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า ผัสสะ มีในสมัยนั้น.
เวทนา มีในสมัยนั้น เป็นไฉน?
ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่
อันเกิดแต่สัมผัสแห่งมโนวิญญาณ ธาตุที่สมกัน ความเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า เวทนา มีในสมัยนั้น ฯลฯ อุเบกขา มีในสมัยนั้น เป็นไฉน? ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า อุเบกขา มีในสมัยนั้น ฯลฯ อุเปกขินทรีย์ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน? ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า อุเปกขินทรีย์ มีในสมัยนั้น ฯลฯ หรือนามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด มีอยู่ในสมัยนั้น สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล. [๓๑๘] ก็ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓
อินทรีย์ ๕ ฌานมีองค์ ๔ มรรคมีองค์ ๔
พละ ๕ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑ ฯลฯ
ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนั้น หรือ นามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด มีอยู่ในสมัยนั้น สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ [๓๑๙] สังขารขันธ์ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน? ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา
วิริยินทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวิตินทรีย์
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ
วิริยพละ สมาธิพละ อหิริกพละ อโนตตัปปะ โลภะ โมหะ อภิชฌา มิจฉาทิฏฐิ อหิริกะ อโนตตัปปะ
สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ หรือ นามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด
เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์
มีอยู่ในสมัยนั้น นี้ชื่อว่า สังขารขันธ์ มีในสมัยนั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ -----------------
จิตดวงที่ ๖ [๓๒๐] ธรรมเป็นอกุศล เป็นไฉน? อกุศลจิต สหรคตด้วยอุเบกขา สัมปยุตด้วยทิฏฐิ
มีรูปเป็นอารมณ์ ฯลฯ มีธรรมเป็นเป็นอารมณ์
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ
เกิดขึ้นโดยมีการชักจูง ในสมัยใด
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ - --------------
อันเกิดแต่สัมผัสแห่งมโนวิญญาณ ธาตุที่สมกัน ความเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า เวทนา มีในสมัยนั้น ฯลฯ อุเบกขา มีในสมัยนั้น เป็นไฉน? ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า อุเบกขา มีในสมัยนั้น ฯลฯ อุเปกขินทรีย์ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน? ความสบายทางใจก็ไม่ใช่ ความไม่สบายทางใจก็ไม่ใช่ ความเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
กิริยาเสวยอารมณ์ที่ไม่ทุกข์ไม่สุข
อันเกิดแต่เจโตสัมผัส
ในสมัยนั้น อันใด นี้ชื่อว่า อุเปกขินทรีย์ มีในสมัยนั้น ฯลฯ หรือนามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด มีอยู่ในสมัยนั้น สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล. [๓๑๘] ก็ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓
อินทรีย์ ๕ ฌานมีองค์ ๔ มรรคมีองค์ ๔
พละ ๕ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑ ฯลฯ
ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนั้น หรือ นามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด มีอยู่ในสมัยนั้น สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ [๓๑๙] สังขารขันธ์ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน? ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร เอกัคคตา
วิริยินทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวิตินทรีย์
มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ
วิริยพละ สมาธิพละ อหิริกพละ อโนตตัปปะ โลภะ โมหะ อภิชฌา มิจฉาทิฏฐิ อหิริกะ อโนตตัปปะ
สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ หรือ นามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด
เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์
มีอยู่ในสมัยนั้น นี้ชื่อว่า สังขารขันธ์ มีในสมัยนั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ -----------------
จิตดวงที่ ๖ [๓๒๐] ธรรมเป็นอกุศล เป็นไฉน? อกุศลจิต สหรคตด้วยอุเบกขา สัมปยุตด้วยทิฏฐิ
มีรูปเป็นอารมณ์ ฯลฯ มีธรรมเป็นเป็นอารมณ์
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ
เกิดขึ้นโดยมีการชักจูง ในสมัยใด
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ - --------------