- จิตดวงที่ ๑
มีรูปเป็นอารมณ์ หรือมีเสียงเป็นอารมณ์
มีกลิ่นเป็นอารมณ์ มีรสเป็นอารมณ์
มีโผฏฐัพพะเป็นอารมณ์ มีธรรมเป็นอารมณ์
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ เกิดขึ้น ในสมัยใด
[๒๗๖-๒๘๐] กด 👉 ผัสสะ เวทนา สัญญา
เจตนา จิต
[๒๘๑-๒๘๕] กด 👉 วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา
[๒๘๖-๒๙๐] กด 👉 วิริยินทรีย์ สมาธินทรีย์
มนินทรีย์ โสมนัสสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์
[๒๙๑-๒๙๔] กด 👉 มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ
[๒๙๕-๒๙๘] กด 👉 วิริยพละ สมาธิพละ
อหิริกพละ อโนตตัปปพละ [๒๙๙-๓๐๔] กด 👉 โลภะ โมหะ อภิชฌา
มิจฉาทิฏฐิ อหิริกะ อโนตตัปปะ
[๓๐๕-๓๐๔] กด 👉 สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ
มีในสมัยนั้น
หรือนามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด
มีอยู่ในสมัยนั้น
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล
[๒๗๖] ผัสสะ มีในสมัยนั้นเป็นไฉน?
อธิบาย : ====== >>
(อธิบายคำผัสสะ ถึง อวิกเขปะ ด้วย
ข้อ ๒๗๖ ถึงข้อ ๓๐๗ ได้จาก "More..." )
[๓๐๘] หรือนามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด
มีอยู่ในสมัยนั้น สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล. [๓๐๙] ก็ขันธ์ ๔ อายตนะ ๒ ธาตุ ๒ อาหาร ๓
- อินทรีย์ ๕ ฌานมีองค์ ๕ มรรคมีองค์ ๔
พละ ๔ เหตุ ๒ ผัสสะ ๑ ฯลฯ
ธัมมายตนะ ๑ ธรรมธาตุ ๑ มีในสมัยนั้น
หรือ นามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด
มีอยู่ในสมัยนั้น. สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล. [๓๑๐] สังขารขันธ์ มีในสมัยนั้น เป็นไฉน? ผัสสะ เจตนา วิตก วิจาร ปีติ เอกัคคตา
วิริยินทรีย์ สมาธินทรีย์ ชีวิตินทรีย์ มิจฉาทิฏฐิ มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาวายามะ มิจฉาสมาธิ
วิริยพละ สมาธิพละ
อหิริกพละ อโนตตัปปพละ
โลภะ โมหะ อภิชฌา มิจฉาทิฏฐิ
อหิริกะ อโนตตัปปะ
สมถะ ปัคคาหะ อวิกเขปะ
หรือนามธรรมที่อิงอาศัยเกิดขึ้นแม้อื่นใด
เว้นเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์
มีอยู่ในสมัยนั้น นี้ชื่อว่า สังขารขันธ์ มีในสมัยนั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล. --------------
จิตดวงที่ ๒ [๓๑๑] ธรรมเป็นอกุศล เป็นไฉน? อกุศลจิต สหรคตด้วยโสมนัส สัมปยุตด้วยทิฏฐิ
มีรูปเป็นอารมณ์ ฯลฯ มีธรรมเป็นอารมณ์
หรือปรารภอารมณ์ใดๆ
เกิดขึ้นโดยมีการชักจูง ในสมัยใด
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอกุศล ฯลฯ -------------
อธิบาย : บทภาชนีย์
หมายถึง บทที่ตั้งไว้เพื่อไขความ
บทที่ต้องอธิบาย
อกุศลเจตสิก๑๔ :
โลภ3 : โลภะ, มิจฉาทิฏฐิ, มานะ
โทสะ๔: โทสะ, อิสสา, มัจฉริยะ, กุกกุจจะ
โมหะ๔: โมหะ, อหิริ, อโนตตัปปะ, อุทธัจจะ
ถีทุกะ2: ถีนะ , มิทธะ
วิจิกิจฉา 1: วิจิกิจฉา
อธิบายเพิ่ม :
โลภะ: ความอยากได้
มิจฉาทิฏฐิ: การเห็นผิดจากความเป็นจริง
มานะ : ความอวดดื้อถือตัว
โทสะ : ความโกรธ
อิสสา: ความริษยา
มัจฉริยะ : ความตระหนี่
กุกกุจจะ : ความเดือดร้อนใจ
โมหะ : ความหลง
อหิริ : ความไม่ละอายต่อบาป
อโนตตัปปะ: ความไม่เกรงกลัวต่อบาป
อุทธัจจะ : ความฟุ้งซ่าน
วิจิกิจฉา : ความลังเลสงสัย
ถีนะ : จิตใจหดหู่(ใจ)
มิทธธ : ความโงกง่วง(กาย)